Post-Teaching
Report 15
Science
Experiences Management for Early Childhood
Miss
Jintana Suksamran
November 27,2014
Group
101 (Thursday) Time 08.30 - 12.30 PM.
การเรียนการสอน
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูที่เกี่ยวข้องในเรื่องวิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย
ดังนี้
นำเสนอวิจัย

ตัวแปรต้น :
ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ตัวแปรตาม :
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชุดกิจกรรมตัวอย่าง
- ให้เด็กๆแสดงท่าทางตามแผ่นภาพสัตว์ที่ตนเองหยิบมา
- ให้เด็กๆจับคู่ภาพสัตว์และอาหารของสัตว์
- ให้เด็กๆเรียงลำดับภาพสัตว์ขนาดเ็กไปหาขนาดใหญ่
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับ
- การสังเกต
- การจำแนก
- การวัด
- การหามิติสัมพันธ์

หน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้
- กิจกรรมแว่นขยายเห็นชัดเจน
- กิจกรรมแสงเป็นอย่างไร
- กิจกรรมเสียงในธรรมชาติ
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับ
- การสังเกต
- การกะประมาณ
- การเปลี่ยนแปลง

กิจกรรม : สนุกกับน้ำ
ทักษณะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับ
- การจำแนก
- การจัดประเภท
- อนุกรม (
เหตุผล)

กิจกรรม : พืชต้องการแสงแดด
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับ
- การสังเกต
- การจำแนกประเภท
- การแบ่งปริมาณและการวัด
- การสื่อความหมาย
- การหามิติสัมพันธ์
- การลงความเห็น
การนำเสนอโทรทัศน์ครู

การทดลอง // ไก่กระต๊าก,อ่างดำเกิดเสียงก้อง,กระป๋องร้องได้
สรุปการทดลอง //
เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนและการเคลื่อนที่ของวัตถุ

การทดลอง // การเปลี่ยนแปลงของน้ำตาล,ความลับของสีดำ,การล้นของน้ำ,จม-ลอย

การทดลอง // การต่อไฟฟ้า : เด็กเรียนรู้ขั้วบวกและขั้วลบของถ่ายไฟฉาย
เรียนรู้ว่าไฟส่องสว่างได้อย่างไร งูเต้นระบำ : งูกระดาษหมุนได้
เพราะมีลักษณะเป็นโค้งๆและอยู่เหนือเทียนที่จุดไฟ

สรุปการทดลอง // เรือเคลื่อนที่ได้
เพราะมีแรงลม

การทดลอง // พลังงานความร้อน,การดูดความร้อน,ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งของแสงสว่าง

การทดลอง // ขวดปั๊ม,ลิปเทียน



สรุปการทดลอง // สีต่างๆ
เกิดจากการหักเหของแสง

เด็กได้ทดลองทำสีที่ได้จากธรรมชาติ

การทดลอง // คลื่นน้ำในขวด

การทดลอง // การจม - ลอยของไข่

สรุปการทดลอง // ผิวบนใบบัว
มีตุ่มเล็กๆ น้ำจึงกลิ้งบนใบบัวได้
การนำไปประยุกต์ใช้
สื่อและเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาตร์
เราสามารถนำมาปรับความรู้เนื้อหาสาระต่างๆเก็บมาปรับไว้ใช้กับเด็กปฐมวัย
ได้ เพราะเด็กในวันนี้มีความต้องการอยากรู้
อยากเห็นมาก เด็กจึงเป็นคนชั่งสักเกตและเมื่อสงสัยอะไรก็จะถาม
เรามีหน้าที่เป็นคุณครูเราต้องตอบทุกปัญหาที่เด็กสงสัย
เพราะฉะนั้นในขณะนี้เราจึงต้องขวนขวายหาความรู้ให้ได้มากที่สุดเมื่อถึงจุด
นั้นเราจะได้มีคำตอบไปตอบเด็กได้ และการขวนขวายความรู้ตรงนี้จะเป็นประโยชน์กับเราโดยตรงด้วย
วิธีการสอน
อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูหน้าห้องเป็นการเผยแพร่ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
โดยในทุกๆครั้งที่นักศึกษาออกมาอ่านวิจัยอาจารย์จะคอยเพิ่ม เติมและสอดแทรกความรู้ใหม่ๆให้
มีการยกตัวอย่างๆ การถาม - ตอบ
เพื่อให้นักศึกษาในห้องเรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นและยังเป็นการฝึกความ
กล้าแสดงออกของเด็กอีกด้วย
การประเมินหลังเรียน
ตนเอง การเข้าเรียนตรงต่อเวลา
แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังและจดบันทึกเนื้อหาจากบทวิจัยและโทรทัศน์ครูที่เพื่อนออกมานำเสนอ
หน้าชั้นเรียน และจดบันทึกเพิ่มเติมจากที่อาจารย์ได้แทรกความรู้ให้ในบทความนั้นๆ
เพื่อน ตั้งใจเรียน แต่งการถูกระเบียบ มีความตั้งใจนำเสนองานหน้าชั้นเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนคนอื่นๆนำเสนองานวิจัยและโทรทัศน์ครู
อาจารย์ อาจารย์ เข้าสอนตรงเวลา
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย อาจารย์คอยแนะนำและเสนอแนะความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิจัยและโทรทัศน์ครูที่นักศึกษาออกมาอ่าน
ทำให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
คำศัพท์
1.
การเปลี่ยนแปลง ( Transition )
2.
ขั้วบวก ( Anode )
3.
ขั้วลบ ( Cathode )
4.
การกลิ้ง ( Rolling )
5.
ถ่านไฟฉาย ( Battery )

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น